วันพฤหัสบดีที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2558


บันทึกการเรียนครั้งที่ 7
 
 วันที่  26 ตุลาคม 2558


สิ่งที่เรียนในวันนี้

ทำไม้ชี้วิเศษ เพื่อไว้ใช้ชี้ในการเรียนการสอนเด็ก
ดูตัวอย่างเพลงและร้องเพลง


ความรู้ที่ได้รับ
         - เทคนิคการทำไม้ชี้และวิธีการสอนการสร้างเพลง

   การนำไปประยุกต์ใช้         
         - นำไปปรับใช้ในการทำกิจกรรมในการสอนเด็กและการทำอุปกรณ์สำหรับใช้ในการสอนในอนาคต

     ประเมินตนเอง
         - ตั้งใจเรียน มาตรงเวลา รวมถึงให้การร่วมมือการทำกิจกรรม

     ประเมินผู้สอน
         - เตรียมตัวสอนมาดีมากและสอนได้อย่างสนุกสนานมีกิจกรรมให้ทำตลอด

วันพุธที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียนครั้งที่ 6
 
วันที่ 19 ตุลาคม 2558

สิ่งที่เรียนในวันนี้

  • บอกแนวทางในการสอบบรรจุ
  • อาจารย์เลี้ยงไก่เคเอฟซี เพื่อเป็นการขอบคุณในการช่วยเหลือกันทำงาน
  • มอบหมายงานกลุ่ม โดยให้แต่ละกลุ่มแต่งเพลง "อะไรเอ๋ย" กลุ่มละ 2 เพลง
  • มอบหมายให้ออกแบบไม้วิเศษมาคนละ 1 ตัวอย่าง

ความรู้ที่ได้รับ
         - แนวทางในการสอบบรรจุและการเตรียมความพร้อมการสอบบรรจุ


     การนำไปประยุกต์ใช้
         - นำไปเป็นแนวทางในการอ่านหนังสือสอบบรรจุในอนาคต

     ประเมินตนเอง
         - ตั้งใจเรียน มาตรงเวลา รวมถึงให้การร่วมมือการทำกิจกรรม


     ประเมินผู้สอน
         - เตรียมตัวสอนมาดีมาก และสามารถถ่ายทอดวิธีการสร้างสรรค์ผลงานหรือกิจกรรมมาให้นักศึกษาทำได้อย่างสนุกสนาน

วันเสาร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2558

   บันทึกการเรียนครั้งที่ 5
 
     วันที่ 7 ตุลาคม 2558

สิ่งที่เรียนในวันนี้

-ทำกิจกรรมเกมนักมายากล
-กิจกรรม นักออกแบบอาคาร  ทำเป็นกลุ่ม 3 คน 

การเล่นเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์

การเล่น
  • กระบวนการเรียนรู้และประสบการณ์ที่เด็กได้รับ
  • ทำให้เด็กเกิดความสุขสนานเพลิดเพลินผ่อนคลาย
  • ปรับตัวให้เข้ากับเพื่อนและสิ่งแวดล้อม
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการเล่น
Piaget กล่าวถึงพัฒนาการการเล่นของเด็กว่ามี 3 ขั้นดังนี้  
1. ขั้นการเล่นโดยใช้ประสาทสัมผัส
   -สำรวจ จับต้องวัตถุ
   -ยุติลงเมื่อเด็ก ขวบ
2. ขั้นการสร้างสรรค์
   -อายุ ขวบครึ่งถึง ปี
   -การเล่นที่ไม่มีขอบเขตจำกัด
   -เล่นด้วยความพอใจมากกว่าคำนึงถึงความเป็นจริง
3. ขั้นการเล่นที่ใช้สัญลักษณ์  
   -ขวบขึ้นไป
   -สามารถพัฒนาเต็มที่เมื่ออายุ 3-4 ขวบ
   -เกิดขึ้นเมื่อเด็กสามารถจำและสมมุติสิ่งของเครื่องเล่นต่างๆที่ไม่มีอยู่ที่นั่น
   -ลักษณะการเล่นที่ใช้สัญลักษณ์ที่นับว่าเป็นพัฒนาการสูงสุดคือการเล่นบทบาทสมมุติ

ประเภทของการเล่นเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
  •   การเล่นกลางแจ้ง
  • การเล่นในร่ม

การเล่นในร่ม
  • การเล่นตามมุมประสบการณ์
  • การเล่นสรรค์สร้าง

การเล่นสรรค์สร้าง
  • การเล่นที่ให้โอกาสเด็กคิดค้นวิธีเล่นอย่างอิสระและเล่นได้หลายวิธี
  • ใช้ความคิดพลิกแพลงวิธีเล่นให้แตกต่างไปจากเดิม
  • เกิดความรู้ความเข้าใจในตนเอง

องค์ประกอบของการเล่นสรรค์สร้าง
 1. สภาวะการเรียนรู้
  • เนื้อหาของสาระการให้ความรู้แก่เด็กโดยจัดสถานการณ์ให้เด็กเกิดการเรียนรู้
  • การเรียนรู้คุณลักษณะความเหมือน
  • การเรียนรู้เกี่ยวกับการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งของและผู้อื่น
  • การเรียนรู้และจินตนาการเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว
  • การเรียนรู้เหตุและผล

2. พัฒนาการของการรู้คิด
  • ต้องจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก

3. กระบวนการเรียนและกระบวนการสอน
  • กระบวนการเรียนรู้
  • กระบวนการจัดประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้
กระบวนการจัดประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้
  • เปลี่ยนแปลงโดยไม่ต้องสับเปลี่ยน
  • การเรียนรู้เกี่ยวกับตรงกลาง
  • การจำแนกอย่างมีเหตุผล

หลักการจัดกิจกรรมการเล่นสรรค์สร้าง
  • ศึกษาสภาพของเด็กและกำหนดขอบข่ายความสามารถของเด็ก
  • ศึกษาสภาพแวดล้อมจัดเตรียมสื่อและกิจกรรมให้เหมาะสม
  • มีส่วนร่วมกับเด็กในจังหวัดเวลาที่เหมาะสม
  • มีการสุดท้ายกิจกรรม

ความรู้ที่ได้รับ

         - ความคิดสร้างสรรค์ที่แปลกใหม่ แนวการคิดแบบสร้างสรรค์ และการรู้จักคิดนอกกรอบโดยการแก้ปัญหาจากการเล่นเกมรวมถึงเทคนิคความคิดสร้างสร้างใหม่ๆ 

     การนำไปประยุกต์ใช้
         
         - นำเทคนิคความคิดสร้างสรรค์ไปปรับใช้กับเด็กและการสอน

     ประเมินตนเอง

         - ตั้งใจเรียน มาตรงเวลา รวมถึงให้การร่วมมือการทำกิจกรรมดีมาก
 
     ประเมินผู้สอน

         - เตรียมตัวสอนมาดีมาก และสามารถถ่ายทอดวิธีการสร้างสรรค์ผลงานหรือกิจกรรมมาให้นักศึกษาทำได้อย่างสนุกสนาน

วันเสาร์ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2558



วันศุกร์ที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2558


บันทึกการเรียนครั้งที่ 4 

วันจันทร์ ที่ 21 กันยายน 2558



-เล่นเกมฝึกสมาธิก่อนเรียน
-ร้องเพลงเส้นหมี่

เส้นหมี่ เส้นหมี่ เส้นหมี่
ซาลาเปา ซาลาเปา ซาลาเปา
หมูสับ หมูสับ หมูสับ
แล้วก็ ข้าวต้มมัด ฮึบ
-ร้องเพลง Mary Had A Little Lamb
-ทำกิจกรรม ดีไซเนอร์ระดับโลก เป็นกลุ่ม

Apply

       สามารถนำกิจกรรมนี้ไปสอนเด็กได้ทั้งในด้านความคิดสร้างสรรค์ การแก้ปัญหา การออกแบบของตัวเอง เพื่อนในกลุ่ม และฝึกความสามัคคีในกลุ่มอีกด้วย

Evaluation

Teacher : เข้าสอนตรงเวลา อธิบายเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนในคาบและกิจกรรมที่มอบหมาย
                 ได้ละเอียดครบถ้วน และเข้าใจได้ง่าย
Friends: ทุกคนตั้งใจทำกิจกรรมในห้องเรียนอย่างเต็มที่
Self: เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย มีการจดบันทึกทุกครั้งในการเรียน

อ้างอิงจากนางสาวเวรุวรรณ ชูกลิ่น