วันอังคารที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2558


บันทึกการเรียนครั้งที่ 11
 
วันที่ 30 พฤศจิกายน 2558



สิ่งที่เรียนในวันนี้
1. ทำกิจกรรมกระตุ้นสมอง
    1.1 ท่า โป้ง-ก้อย
    1.2 ท่า จีบ-แอล
    1.3 ท่า 1-10
    1.4 ท่า ทุบ-ลูบ
    1.5 ท่า สัมผัสปลายนิ้ว
2. แสดงผลงานการออกแบบของตัวเอง
3. ทักษะและแนวทางการแสดงผลงานความคิดสร้างสรรค์
4. ดูคลิปวิดีโอตัวอย่าง "ครู"


ภาพกิจกรรม








ความรู้ที่ได้รับ
         - ทักษะความคิดสร้างสรรค์และเทคนิคการสอนเด็ก

    การนำไปประยุกต์ใช้
         - นำไปเป็นในการเรียนการสอนในอนาคต

     ประเมินตนเอง
         - ตั้งใจเรียน มาตรงเวลา รวมถึงให้การร่วมมือการทำกิจกรรม
 
     ประเมินผู้สอน
         - เตรียมตัวสอนมาดีมาก และสอนบอกเทคนิคต่างๆได้เข้าใจและสนุกสนาน


วันศุกร์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558



บันทึกการเรียนครั้งที่ 10
 
วันที่ 16 พฤศจิกายน 2558



สิ่งที่เรียนในวันนี้
1. เล่นเกม
2. บอกแนวทางในการสังเกตการสอน
3. มอบหมายงานให้ไปออกแบบลายภาพ 

ความหมาย
เป็นเครื่องมือที่ให้เด็กแสดงความรู้สึก ความต้องการออกมาผ่านผลงาน
การวาด การปั้น การประดิษฐ์ การตัด การฉีก การปะ การพับ
ความสำคัญและประโยชน์ของศิลปะสร้างสรรค์
เด็กได้แสดงความรู้สึก ความคิด ความสามารถ
ตอบสนองธรรมชาติและความต้องการของเด็ก
บำบัดอารมณ์
ฝึกทักษะการทำงานของอวัยวะต่างๆแสดงให้เห็นถึงพัฒนาการของเด็ก
พัฒนาการทางศิลปะของ (Lowenfeld and Britain)
     1. ขั้นขีดเขียน (Scribbling Stage)
         • 2-4 ปี
         • ความสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา 
     2. ขั้นก่อนมีแบบแผน (Preschemalic Stage)
          • 4-7 ปี
          • ภาพมีความสัมพันธ์กับความจริง
     3. ขั้นใช้สัญลักษณ์ (Schemalic Stage)
          • 7-9 ปี
          • คล้ายของจริง
หลักการจัดประสบการณ์ศิลปะ
กระบวนการสำคัญกว่าผลงาน
หลีกเลี่ยงการวาดภาพตามแบบ การระบายสีจากสมุดภาพ
ชื่นชม
เตรียมอุปกรณ์
ศิลปะสำคัญเช่นเดียวกับการเขียนอ่าน
หลีกเลี่ยงคำถาม “กำลังทำอะไร” หรือ “เดาสิ่งที่เด็กทำ”

กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
กิจกรรมสี
การปั้น
การตัดปะ
การพับ
การประดิษฐ์

ภาพกิจกรรม




ความรู้ที่ได้รับ
         - ทักษะความคิดสร้างสรรค์

    การนำไปประยุกต์ใช้
         - นำไปเป็นในการเรียนการสอนในอนาคต

     ประเมินตนเอง
         - ตั้งใจเรียน มาตรงเวลา รวมถึงให้การร่วมมือการทำกิจกรรม
 
     ประเมินผู้สอน
         - เตรียมตัวสอนมาดีมาก และสอนบอกเทคนิคต่างๆได้เข้าใจและสนุกสนาน

วันอังคารที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียนครั้งที่ 9
 
วันที่ 9 พฤศจิกายน 2558



สิ่งที่เรียนในวันนี้

1. ทำท่าเคลื่อนไหวออกแบบท่าตามจินตนาการ โดยมีอาจรย์เป็นผู้กำหนดหัวข้อในการเคลื่อนที่
2. สอนแบบกลุ่ม ซึ่งเป็นการสอนไปเขียนกระดานไป ในหัวข้อนิทานเรื่อง

"ผลไม้สีเหลือง" 
ฉันไปสวนผลไม้
เจอผลไม้สีเหลือง
มีกล้วย สาลีี่ สับปะรด
ฉันชอบกินผลไม้
สมาชิกกลุ่ม 
1. นางสาวเจนจิรา      เทียมนิล
2. นางสาวเวรุวรรณ    ชูกลิ่น
3. นางสาวยุภา           ธรรมโคตร
4. นางสาวรัตนาภรณ์   คงกะพันธุ์


ภาพกิจกรรม


ความรู้ที่ได้รับ
         - เทคนิคการสอนและการออกแบบท่าตามจินตนาการ

    การนำไปประยุกต์ใช้
         - นำไปเป็นในการเรียนการสอนในอนาคต

     ประเมินตนเอง
         - ตั้งใจเรียน มาตรงเวลา รวมถึงให้การร่วมมือการทำกิจกรรมและสนุกสนานกับการเรียน
 
     ประเมินผู้สอน
         - สอนสนุกและมีการบอกเทคนิคต่างๆได้เข้าใจและสนุกสนานมีความสุข

วันอังคารที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558


 บันทึกการเรียนครั้งที่ 8
 
 วันที่ 2 พฤศจิกายน 2558

สิ่งที่เรียนในวันนี้

  • กิจกรรมทายเสียงสัตว์
  • กิจกรรมทายเสียงเครื่องดนตรี
  • กิจกรรมกระซิบคำกลอน
  • แบ่งกลุ่มเขียนกระดานและสอนวิธีการเขียนกระดาน




ความรู้ที่ได้รับ

         - ทักษะความคิดสร้างสรรค์และเทคนิคการเขียนกระดานและการสอนที่ถูกวิธีรวมถึงการแก้ปัญหาในการทำกิจกรรม

    การนำไปประยุกต์ใช้
         - นำไปเป็นในการเรียนการสอนในอนาคต

     ประเมินตนเอง

         - ตั้งใจเรียน มาตรงเวลา รวมถึงให้การร่วมมือการทำกิจกรรม
 
     ประเมินผู้สอน

         - เตรียมตัวสอนมาดีมาก และสอนบอกเทคนิคต่างๆได้เข้าใจและสนุกสนาน

วันพฤหัสบดีที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2558


บันทึกการเรียนครั้งที่ 7
 
 วันที่  26 ตุลาคม 2558


สิ่งที่เรียนในวันนี้

ทำไม้ชี้วิเศษ เพื่อไว้ใช้ชี้ในการเรียนการสอนเด็ก
ดูตัวอย่างเพลงและร้องเพลง


ความรู้ที่ได้รับ
         - เทคนิคการทำไม้ชี้และวิธีการสอนการสร้างเพลง

   การนำไปประยุกต์ใช้         
         - นำไปปรับใช้ในการทำกิจกรรมในการสอนเด็กและการทำอุปกรณ์สำหรับใช้ในการสอนในอนาคต

     ประเมินตนเอง
         - ตั้งใจเรียน มาตรงเวลา รวมถึงให้การร่วมมือการทำกิจกรรม

     ประเมินผู้สอน
         - เตรียมตัวสอนมาดีมากและสอนได้อย่างสนุกสนานมีกิจกรรมให้ทำตลอด

วันพุธที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียนครั้งที่ 6
 
วันที่ 19 ตุลาคม 2558

สิ่งที่เรียนในวันนี้

  • บอกแนวทางในการสอบบรรจุ
  • อาจารย์เลี้ยงไก่เคเอฟซี เพื่อเป็นการขอบคุณในการช่วยเหลือกันทำงาน
  • มอบหมายงานกลุ่ม โดยให้แต่ละกลุ่มแต่งเพลง "อะไรเอ๋ย" กลุ่มละ 2 เพลง
  • มอบหมายให้ออกแบบไม้วิเศษมาคนละ 1 ตัวอย่าง

ความรู้ที่ได้รับ
         - แนวทางในการสอบบรรจุและการเตรียมความพร้อมการสอบบรรจุ


     การนำไปประยุกต์ใช้
         - นำไปเป็นแนวทางในการอ่านหนังสือสอบบรรจุในอนาคต

     ประเมินตนเอง
         - ตั้งใจเรียน มาตรงเวลา รวมถึงให้การร่วมมือการทำกิจกรรม


     ประเมินผู้สอน
         - เตรียมตัวสอนมาดีมาก และสามารถถ่ายทอดวิธีการสร้างสรรค์ผลงานหรือกิจกรรมมาให้นักศึกษาทำได้อย่างสนุกสนาน

วันเสาร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2558

   บันทึกการเรียนครั้งที่ 5
 
     วันที่ 7 ตุลาคม 2558

สิ่งที่เรียนในวันนี้

-ทำกิจกรรมเกมนักมายากล
-กิจกรรม นักออกแบบอาคาร  ทำเป็นกลุ่ม 3 คน 

การเล่นเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์

การเล่น
  • กระบวนการเรียนรู้และประสบการณ์ที่เด็กได้รับ
  • ทำให้เด็กเกิดความสุขสนานเพลิดเพลินผ่อนคลาย
  • ปรับตัวให้เข้ากับเพื่อนและสิ่งแวดล้อม
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการเล่น
Piaget กล่าวถึงพัฒนาการการเล่นของเด็กว่ามี 3 ขั้นดังนี้  
1. ขั้นการเล่นโดยใช้ประสาทสัมผัส
   -สำรวจ จับต้องวัตถุ
   -ยุติลงเมื่อเด็ก ขวบ
2. ขั้นการสร้างสรรค์
   -อายุ ขวบครึ่งถึง ปี
   -การเล่นที่ไม่มีขอบเขตจำกัด
   -เล่นด้วยความพอใจมากกว่าคำนึงถึงความเป็นจริง
3. ขั้นการเล่นที่ใช้สัญลักษณ์  
   -ขวบขึ้นไป
   -สามารถพัฒนาเต็มที่เมื่ออายุ 3-4 ขวบ
   -เกิดขึ้นเมื่อเด็กสามารถจำและสมมุติสิ่งของเครื่องเล่นต่างๆที่ไม่มีอยู่ที่นั่น
   -ลักษณะการเล่นที่ใช้สัญลักษณ์ที่นับว่าเป็นพัฒนาการสูงสุดคือการเล่นบทบาทสมมุติ

ประเภทของการเล่นเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
  •   การเล่นกลางแจ้ง
  • การเล่นในร่ม

การเล่นในร่ม
  • การเล่นตามมุมประสบการณ์
  • การเล่นสรรค์สร้าง

การเล่นสรรค์สร้าง
  • การเล่นที่ให้โอกาสเด็กคิดค้นวิธีเล่นอย่างอิสระและเล่นได้หลายวิธี
  • ใช้ความคิดพลิกแพลงวิธีเล่นให้แตกต่างไปจากเดิม
  • เกิดความรู้ความเข้าใจในตนเอง

องค์ประกอบของการเล่นสรรค์สร้าง
 1. สภาวะการเรียนรู้
  • เนื้อหาของสาระการให้ความรู้แก่เด็กโดยจัดสถานการณ์ให้เด็กเกิดการเรียนรู้
  • การเรียนรู้คุณลักษณะความเหมือน
  • การเรียนรู้เกี่ยวกับการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งของและผู้อื่น
  • การเรียนรู้และจินตนาการเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว
  • การเรียนรู้เหตุและผล

2. พัฒนาการของการรู้คิด
  • ต้องจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก

3. กระบวนการเรียนและกระบวนการสอน
  • กระบวนการเรียนรู้
  • กระบวนการจัดประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้
กระบวนการจัดประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้
  • เปลี่ยนแปลงโดยไม่ต้องสับเปลี่ยน
  • การเรียนรู้เกี่ยวกับตรงกลาง
  • การจำแนกอย่างมีเหตุผล

หลักการจัดกิจกรรมการเล่นสรรค์สร้าง
  • ศึกษาสภาพของเด็กและกำหนดขอบข่ายความสามารถของเด็ก
  • ศึกษาสภาพแวดล้อมจัดเตรียมสื่อและกิจกรรมให้เหมาะสม
  • มีส่วนร่วมกับเด็กในจังหวัดเวลาที่เหมาะสม
  • มีการสุดท้ายกิจกรรม

ความรู้ที่ได้รับ

         - ความคิดสร้างสรรค์ที่แปลกใหม่ แนวการคิดแบบสร้างสรรค์ และการรู้จักคิดนอกกรอบโดยการแก้ปัญหาจากการเล่นเกมรวมถึงเทคนิคความคิดสร้างสร้างใหม่ๆ 

     การนำไปประยุกต์ใช้
         
         - นำเทคนิคความคิดสร้างสรรค์ไปปรับใช้กับเด็กและการสอน

     ประเมินตนเอง

         - ตั้งใจเรียน มาตรงเวลา รวมถึงให้การร่วมมือการทำกิจกรรมดีมาก
 
     ประเมินผู้สอน

         - เตรียมตัวสอนมาดีมาก และสามารถถ่ายทอดวิธีการสร้างสรรค์ผลงานหรือกิจกรรมมาให้นักศึกษาทำได้อย่างสนุกสนาน